ปรนิมมิตวสวัตดี ตอน สิริมาเทพนารี ๑
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีความหวังให้ทาน ไม่มีจิตใจผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน อีกทั้งไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า “เราจักเป็นผู้จำแนกแจกทาน เช่นเดียวกับบัณฑิตนักปราชญ์ในกาลก่อนทั้งหลาย แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เมื่อเราให้ทานอย่างนี้แล้ว จิตจะเลื่อมใส เกิดความปลื้มใจและปีติโสมนัส เขาให้ทานคือ ข้าวและนํ้าเป็นต้นแล้ว ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัตดี
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีลครึ่งวัน
กามแม้น้อย ก็ไม่พอแก่มหาชน มหาชนย่อมไม่อิ่มในกามแม้มาก น่าสลดใจที่พวกคนพาลพากันบ่นว่า รูป เสียงเหล่านี้ จงมีแก่เรา กุลบุตรผู้ประกอบด้วยความเพียร พึงเว้นให้ขาดเถิด
พญานาค คาถาป้องกันงู
ตระกูลนาคเป็นสัตว์ดุร้ายเจ้าโทสะ ได้รับกระทบกระทั่งแม้เกน้อยก็โกรธอาจเผาผลาญผู้ที่ตนพบเห็นหรือฉกกัดได้ ผู้ที่กลัวงูทั้งหลายจึงหาวิธีป้องกันงูในลักษณะต่างๆ อันนำมาซึ่งความผูกอาฆาตพยาบาทผูกเวรกันต่อไปข้ามชาติ เช่น ตีงูจนหลังหัก หรือตายก็มี
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑๑)
สิ่งที่มวลมนุษยชาติทั้งหลายแสวงหา คือ ทำอย่างไรจึงจะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 62 อัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ (2)
ด้วยความที่พระโพธิสัตว์เป็นผู้ที่มีหัวใจรักในการสร้างบารมีอย่างไม่มีประมาณ เราจึงสามารถสรุปอัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ได้หกประการ ดังนี้
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
ชัยชนะครั้งที่ ๓ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
การจะหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ จะต้องลงมือปฏิบัติธรรมเท่านั้น จะสวดมนต์อ้อนวอนอย่างไร ย่อมไม่อาจบรรลุธรรมได้ แม้จะมีความ
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_2
พระตถาคตเจ้าทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นมาก็ เพื่อประโยชน์สุขแก่คนหมู่มาก ทรงบำเพ็ญประโยชน์ทั้งแก่สตรี และบุรุษ ผู้ทำตามคำสอนของพระองค์
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(11)
สิ่งใดที่ได้มาเพราะผู้อื่นให้ สิ่งนั้นเปรียบเหมือนยวดยาน หรือทรัพย์ที่ยืมเขามา เพราะฉะนั้น หม่อมฉันไม่ปรารถนาสิ่งที่ผู้อื่นมอบให้ บุญทั้งหลายที่หม่อมฉันทำเองย่อมเป็นทรัพย์ที่จะติดตามหม่อมฉันไป
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (3)
พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ปราชญ์กล่าวว่าเป็นยอดแห่งสัตว์ทั้งปวงนั้น สัตว์เหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า สัตว์เหล่านั้นชื่อว่าเลื่อมใสในวัตถุอันเลิศ เมื่อเลื่อมใสในวัตถุอันเลิศ ก็ย่อมได้ผลอันเลิศ